ตัวชี้วัดที่ 10 |
อัตราตายปริกำเนิด ( Perinatal Mortality rate) |
หน่วยวัด / เกณฑ์ |
ไม่เกิน 9 ต่อพันการเกิดมีชีพ
|
วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด |
เพื่อประเมินคุณภาพของงานบริการอนามัยแม่และเด็ก
|
นิยาม / คำอธิบาย |
การตายปริกำเนิด หมายถึง การตายของทารกที่เกิดไร้ชีพที่คลอดจากมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ทารกที่ตายนับตั้งแต่อยู่ในครรภ์ครบ 22 สัปดาห์เต็มหากไม่ทราบ อายุครรภ์ให้ใช้น้ำหนักของทารกแรกคลอดตั้งแต่ 1,000กรัม หรือ ความยาวจากศีรษะ ถึงส้นเท้า 36 ซม. หรือมากกว่า) รวมกับการตายทารกอายุต่ำกว่า 7 วันหลังคลอด |
การประมวลผลตัวชี้วัด
(สูตรคำนวณ) |
จำนวนทารกเกิดไร้ชีพที่คลอดจากมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)
ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ +
จำนวนการตายองทารกที่มีอายุต่ำกว่า 7 วัน ในช่วงเวลาที่กำหนด
X 1,000
จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมดที่คลอดจากมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)
ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติในช่วงเวลาเดียวกัน |
เกณฑ์ในการให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
ต่อพันการเกิดมีชีพ |
15 |
12 |
9 |
6 |
3 |
แหล่งข้อมูล |
ฐานข้อมูลการรับบริการการคลอดของโรงพยาบาล
|
วิธีจัดเจ็บข้อมูล |
บันทึกในแบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอด
|
ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล |
เดือนละ 1 ครั้ง
|
ผู้ดูแลกำกับตัวชี้วัด |
น.ส.อมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
ผู้จัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด |
น.ส.อมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
กลุ่มงาน Cluster |
นายฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : นายแพทย์
|
จัดทำโดย |
น.ส.รัชฎาลักษณ์ อินต๊ะนัย |
ลายมือชื่อ
|
ตรวจสอบโดย |
หัวหน้ากลุ่มงาน |
ลายมือชื่อ
|
รับรองโดย |
หัวหน้ากลุ่มภารกิจ(Cluster) |
ลายมือชื่อ
|
อนุมัติโดย |
นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ลายมือชื่อ
|