1. ประเด็นยุทธศาสตร์องค์กร |
การให้บริการผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัย |
2. เป้าประสงค์ |
ผู้ป่วยได้รับการแก้ไขอาการที่สำคัญ ที่คุกคามชีวิตอย่างทันท่วงที |
3. ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 |
ร้อยละของผู้ป่วยฉุกเฉินมาก (Emergency) ได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตภายใน 4 นาที |
4. เกณฑ์ |
ร้อยละ 100 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินมากที่มารับบริการในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินที่ได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตภายใน 4 นาที |
5.2 นิยาม |
ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก(Emergency) หมายถึง ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตทันที ได้แก่ การช่วยพื้นคืนชีพและการช่วยหายใจภายใน 4 นาทีที่ประเมินปัญหาได้ |
5.3 วิธีรายงาน |
เดือนละ 1 ครั้ง ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
- แบบบันทึกทางการพยาบาลห้องฉุกเฉิน HOS X-P
- ใบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
6.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินมากที่มารับบริการในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
6.2 นิยาม |
ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก(Emergency) หมายถึง ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตทันที ได้แก่ การช่วยพื้นคืนชีพและการช่วยหายใจภายใน 4 นาทีที่ประเมินปัญหาได้ |
6.3 วิธีรายงาน |
รายงานในแบบบันทึกการพยาบาลห้องฉุกเฉิน |
6.4 แหล่งข้อมูล |
แบบบันทึกทางการพยาบาลห้องฉุกเฉิน HOS X-P |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ)
จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินมากที่มารับบริการในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินที่ได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตภายใน 4 นาที X 100
จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินมากที่มารับบริการในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน |
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลงาน |
61-70 |
71-80 |
81-90 |
91-99 |
100 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
1.นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
|
10. ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลตัวชี้วัด : นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |