1. ประเด็นยุทธศาสตร์องค์กร |
การให้บริการผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัย |
2. เป้าประสงค์ |
การวางแผนจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพ ลดอัตราการกลับเป็นโรคซ้ำ หรือความรุนแรง-ก้าวหน้าของการเจ็บป่วยที่สามารถควบคุมได้ |
3. ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 |
ร้อยละของการกลับมารักษาซ้ำด้วยอาการหรือโรคเดิมที่มีความรุนแรงมากขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง |
4. เกณฑ์ |
< ร้อยละ 20 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้ป่วยที่กลับมารักษาซ้ำด้วยอาการหรือโรคเดิมที่มีความรุนแรงมากขึ้นภายใน
48 ชั่วโมง |
5.2 นิยาม |
ผู้ป่วยที่กลับมารักษาซ้ำภายใน 48 ชั่วโมง ด้วยอาการหรือโรคเดิมที่มีความรุนแรงมากขึ้น หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้มารับการรักษาที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ได้รับการตรวจจากแพทย์หรือพยาบาลวิชาชีพแล้วให้กลับบ้าน และได้กลับมารักษาซ้ำด้วยอาการหรือโรคเดิมที่มีความรุนแรงมากขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง |
5.3 วิธีรายงาน |
เดือนละ 1 ครั้ง ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
- แบบบันทึกทางการพยาบาลห้องฉุกเฉิน HOS X-P
- ใบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง (misdiagnosis) |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
6.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินแล้วจำหน่ายกลับบ้านทั้งหมด |
6.2 นิยาม |
จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินแล้วจำหน่ายกลับบ้าน หมายถึงผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาโรคที่ห้องฉุกเฉินแล้วจำหน่ายกลับบ้าน ไม่รวมถึงผู้ป่วยที่มารับบริการอื่น ๆ เช่น ฉีดยา ทำแผล เป็นต้น และไม่รวมถึงผู้ป่วยที่ admit หรือ refer |
6.3 วิธีรายงาน |
รายงานในแบบบันทึกการพยาบาลห้องฉุกเฉิน |
6.4 แหล่งข้อมูล |
แบบบันทึกทางการพยาบาลห้องฉุกเฉิน HOS X-P |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ)
จำนวนผู้ป่วยที่กลับมารักษาซ้ำด้วยอาการหรือโรคเดิมที่มีความรุนแรงมากขึ้นภายใน X 100
จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินแล้วจำหน่ายกลับบ้าน |
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลงาน |
>61 |
41-60 |
21-40 |
<20 |
0 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ) นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
10. ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลตัวชี้วัด : นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |