1. ประเด็นยุทธศาสตร์องค์กร |
การให้บริการผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัย |
2. เป้าประสงค์ |
การวางแผนจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพ ลดอัตราการกลับเป็นโรคซ้ำ หรือความรุนแรงก้าวหน้าของการเจ็บป่วยที่ สามารถควบคุมได้ |
3. ชื่อตัวชี้วัดที่ 4 |
ร้อยละของการตรวจรักษาผิดพลาดของพยาบาล (จากการตรวจโดยบุคลากรที่ชำนาญกว่า) |
4. เกณฑ์ |
< ร้อยละ 20 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจรักษาผิดพลาดของพยาบาล |
5.2 นิยาม |
ผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจรักษาผิดพลาดของพยาบาล หมายถึง ผู้ป่วยมารับบริการที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉินแล้วได้รับการตรวจรักษา
โดยพยาบาลวิชาชีพนอกเวลาราชการเมื่อได้มีการทบทวนด้วย
ผู้ที่ชำนาญกว่าแล้วพบว่าเกิดความผิดพลาดกับการตรวจรักษา เช่น ให้ยาผิดคน ให้ยาผิดขนาด วินิจฉัยโรคผิด เป็นต้น |
5.3 วิธีรายงาน |
เดือนละ 1 ครั้ง ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
- สมุด Audit โดยแพทย์เวร(พยาบาลเวรเช้าส่งสมุด Audit ให้แพทย์เวรเซ็นทุกเช้า)
- ใบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
6.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินนอกเวลาราชการทั้งหมด |
6.2 นิยาม |
ผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินนอกเวลาราชการ หมายถึง ผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉินนอกเวลาราชการทั้งหมด รวมถึงผู้ป่วยที่มารับบริการอื่นๆ เช่นฉีดยา ทำแผล เป็นต้น |
6.3 วิธีรายงาน |
รายงานในสมุดลงหัตถการผู้มารับบริการห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉินนอกเวลาราชการ |
6.4 แหล่งข้อมูล |
สมุดลงหัตถการผู้มารับบริการห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉินนอกเวลาราชการ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ)
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจรักษาผิดพลาดของพยาบาล X 100
จำนวนผู้ป่วยที่มารับบริการตรวจรักษาในห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินนอกเวลาราชการทั้งหมด |
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลงาน |
>61 |
41-60 |
21-40 |
<20 |
0 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
1.นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
|
10. ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลตัวชี้วัด : นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
11. กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |