1. ประเด็นยุทธศาสตร์องค์กร |
การให้บริการผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัย |
2. เป้าประสงค์ |
บุคลากรมีทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
3. ชื่อตัวชี้วัดที่ 6 |
ร้อยละของบุคลากรได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1ครั้ง/คน/ปี |
4. เกณฑ์ |
ร้อยละ 100 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนบุคลากรได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย
1 ครั้ง/คน/ปี |
5.2 นิยาม |
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หมายถึงการปฏิบัติเพื่อช่วยชีวิตคนหัวใจหยุดเต้นหรือคนที่หยุดหายใจอย่างกระทันหัน
โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือทางการแพทย์แต่อย่างไรแต่เพียงใช้แรงมือกดที่หน้าอกและเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยก็สามารถทำให้
หัวใจที่หยุดเต้นสามารถกลับมาเต้นใหม่ได้เลือดไปเลี้ยงสมองได้
บุคลากรได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน หมายถึง บุคลากรในโรงพยาบาลทั้งหมด ได้รับการฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานจากผู้ชำนาญกว่า (แพทย์ ,พยาบาล) อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี |
5.3 วิธีรายงาน |
ปีละ 1 ครั้ง |
5.4 แหล่งข้อมูล |
รายชื่อผู้เข้าอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในปีงบนั้นๆ |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
6.1 รายการข้อมูล |
จำนวนบุคลากรในโรงพยาบาลทั้งหมด |
6.2 นิยาม |
บุคลากรในโรงพยาบาล หมายถึง บุคลากรทุกคนที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาล |
6.3 วิธีรายงาน |
รายงานในรายชื่อผู้เข้าอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในปีงบนั้นๆ |
6.4 แหล่งข้อมูล |
รายชื่อผู้เข้าอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในปีงบนั้นๆ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ)
จำนวนบุคลากรได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานอย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี X 100
จำนวนบุคลากรในโรงพยาบาลทั้งหมด |
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลงาน |
61-70 |
71-80 |
81-90 |
91-99 |
100 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ) .นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
10. ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลตัวชี้วัด : นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
11. กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |