1. ประเด็นยุทธศาสตร์องค์กร |
การให้บริการผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินด้วยความรวดเร็ว ถูกต้องและปลอดภัย |
2. เป้าประสงค์ |
บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในการรองรับอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามบทบาทและหน้าที่ |
3. ชื่อตัวชี้วัดที่ 7 |
ร้อยละของบุคลากรได้รับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ |
4. เกณฑ์ |
ร้อยละ 100 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนบุคลากรได้รับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี |
5.2 นิยาม |
อุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ (mass casualty incident,MCI) หมายถึงการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุคราวเดียวกันเป็นจำนวนมากเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่จะให้การรักษาตามปกติได้ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการจราจร ,ภัยธรรมชาติ, น้ำท่วม, พายุ, ไฟไหม้ จากการกระทำของมนุษย์ เช่น ตึกถล่ม, รถชนกัน, ระเบิด ฯลฯ
บุคลากรได้รับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ หมายถึง บุคลากรในโรงพยาบาลทั้งหมด ได้รับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี |
5.3 วิธีรายงาน |
ปีละ 1 ครั้ง |
5.4 แหล่งข้อมูล |
รายชื่อผู้เข้ารับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ในปีงบนั้น ๆ |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
6.1 รายการข้อมูล |
จำนวนบุคลากรในโรงพยาบาลทั้งหมด |
6.2 นิยาม |
บุคลากรในโรงพยาบาล หมายถึง บุคลากรทุกคนที่ปฏิบัติหน้าที่ในโรงพยาบาล |
6.3 วิธีรายงาน |
รายงานในรายชื่อผู้เข้ารับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ในปีงบนั้น ๆ |
6.4 แหล่งข้อมูล |
รายชื่อผู้เข้ารับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ในปีงบนั้น ๆ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ)
จำนวนบุคลากรได้รับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่ อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปีX 100
จำนวนบุคลากรในโรงพยาบาลทั้งหมด |
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลงาน |
61-70 |
71-80 |
81-90 |
91-99 |
100 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
1.นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
|
10. ชื่อ – สกุล ผู้ดูแลตัวชี้วัด : นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
11. กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |