1. ประเด็น |
พัฒนาการให้บริการผู้ป่วยแผลกดทับระดับ 2-4 |
2. เป้าประสงค์ |
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนแผลกดทับระดับ2-4 |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการเกิดแผลกดทับระดับ 2-4 ของผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาล |
4. เกณฑ์ |
5 ต่อ1000 วันนอน |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนครั้งของการเกิดแผลกดทับระดับ 2-4ในแต่ละเดือน
จำนวนวันนอนรวมของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในช่วงเดือนเดียวกัน |
5.2 นิยาม |
อัตราการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาลหมายถึง การที่ผู้ป่วยมีแผลกดทับระดับ 2-4 ที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังรับผู้ป่วย ไว้ในโรงพยาบาลรวมทั้งจำนวนแผลกดทับเดิมที่มีลักษณะ เลวลงเปรียบเทียบกับจำนวนวันนอนรวมของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในหอผู้ป่วยที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูล มีหน่วยนับของอัตราการเกิดแผลกดทับเป็นครั้งต่อ 1000 วันนอน การวินิจฉัยระดับของแผลกดทับตาม เกณฑ์จำแนกความรุนแรงของแผลกดทับดังนี้
ระดับ 2 มีการฉีกขาดบางส่วนของชั้นหนังกำพร้าจนถึงชั้นหนังแท้เช่นแผลถลอก เป็นตุ่มพองหรือเป็นแผลตื้น
ระดับ 3 หนังกำพร้าทั้งหมดมีการฉีกขาดและมีการตายของเนื้อเยื่อชั้นหนังกำพร้าจนถึง
ชั้นใต้ผิวหนังและอาจขยายจนถึงชั้นเนื้อเยื่อพังผืดแผลเป็นหลุมลึกเซาะไปยังเนื้อเยื่อรอบๆบริเวณ
ระดับ 4 มีการตายของเนื้อเยื่อชั้นลึกถึงกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น หรือเยื่อหุ้มข้อต่อเนื้อเยื่อที่ตายจะมีสีคล้ำหรือดำ แผลมีลักษณะเป็นโพรงลึก |
5.3 วิธีรายงาน |
รายงานที่งานประกันคุณภาพพยาบาลทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
แบบรายงานการเกิดแผลกดทับ
ฐานข้อมูลจาก HOS.XP |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ผู้ป่วยกลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ที่ผลการ ประเมิน Braden Score < 16 คะแนน |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนครั้งของการเกิดแผลกดทับระดับ 2 - 4
|
x 1000 |
จำนวนวันนอนรวมของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในช่วงเดือนเดียวกัน |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลการประเมิน |
24 |
20.5 |
17 |
13.5 |
10 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสุภาวดี ไชยและ |
ตำแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพ |
10. ชื่อ – สกุล :ผู้ดูแลตัวชี้วัด นางสาวรัชฎาลักษณ์ อินต๊ะนัย |
ตำแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ |
11. กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : นายแพทย์ปฏิบัติการ |