1. ประเด็น |
พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้ได้มาตรฐาน |
2. เป้าประสงค์ |
เพื่อความปลอดภัยของผู้รับบริการ |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ |
4. เกณฑ์ |
0 ต่อ 1000 วันนอน |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนครั้งของการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยที่คาสายสวน
จำนวนวันนอนรวมที่ผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะ |
5.2 นิยาม |
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะหมายถึงผู้ป่วยที่ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะในขณะอยู่โรงพยาบาล
และเกิดอาการของการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะภายหลังการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแล้ว48ชั่วโมงต่อจำนวนวัน
รวมที่ผู้ป่วยคาสายสวนทั้งหมด |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุกเดือนที่งานประกันคุณภาพพยาบาล |
5.4 แหล่งข้อมูล |
แบบเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ฐานข้อมูลจาก HOS.XP |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะที่ตึกผู้ป่วยใน |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
จำนวนครั้งของการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
|
x 1000 |
จำนวนวันนอนรวมที่ผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะ |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลการประเมิน |
2 |
1.5 |
1 |
0.5 |
0 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ : นางสาวสุภาวดี ไชยและ |
ตำแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพ |
10. ชื่อ – สกุล :ผู้ดูแลตัวชี้วัด นางสาวรัชฎาลักษณ์ อินต๊ะนัย |
ตำแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติการ |
11. กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : นายแพทย์ปฏิบัติการ |