1. ประเด็น |
ทารกแรกเกิดมีภาวะ Birth Asphyxia |
2. เป้าประสงค์ |
ลดอัตราการเกิดภาวะ Birth Asphyxia ไม่เกิน 30 : 1,000 การเกิดมีชีพ |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตรา การเกิดภาวะ Birth Asphyxia |
4. เกณฑ์ |
ไม่เกิน 30 : 1,000 การเกิดมีชีพ |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพที่คลอดจากมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ |
5.2 นิยาม |
ทารกแรกเกิดมีชีพที่คลอดจากมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ที่มีภาวะการขาด O2 ขณะคลอด จากการประเมิน Apgar score ที่ 1 นาที น้อยกว่า หรือเท่ากับ 7 ที่คลอดในห้องคลอดโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |
5.3 วิธีรายงาน |
บันทึกในแบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอดทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ICD 10 / แบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอด |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ทารกแรกเกิดมีชีพที่คลอดจากมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพครบกำหนดในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติที่มีภาวะขาด O2
|
x 1,000 |
จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพครบกำหนดในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติทั้งหมด |
|
8.เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
อัตราการเกิดภาวะ BA |
40 |
35 |
30 |
25 |
20 |
9.ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ):
นางสาว อมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด
นางสาว อมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
กลุ่มงานCluster :
นายแพทย์ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
|