1. ประเด็น |
การติดเชื้อแผลฝีเย็บ เนื่อง จากการปนเปื้อนในระหว่างการคลอด หรือการปนเปื้อนเครื่องมือ อุปกรณ์ ในห้องคลอด |
2. เป้าประสงค์ |
ลดการติดเชื้อแผลฝีเย็บจากการปนเปื้อนในระหว่างการคลอด / การปนเปื้อนเครื่องมืออุปกรณ์ใน
ห้องคลอด |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการติดเชื้อของแผลฝีเย็บ |
4. เกณฑ์ |
ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
มารดาคลอดทางช่องคลอดที่มีแผลฝีเย็บจากการมารับบริการคลอดที่ห้องคลอดโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติตาม
ระบบเฝ้าระวัง IC |
5.2 นิยาม |
มีการอักเสบเป็นหนองของแผล ฝีเย็บ( Episiotomy Abscess ) ภายใน 30 วัน |
5.3 วิธีรายงาน |
แบบรายงาน IC / แบบรายงานอุบัติการณ์ ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ICD 10 / รายงานอุบัติการณ์ / แบบบันทึกการคลอด |
6. ประชากรเป้าหมาย |
จำนวนมารดาที่รับบริการคลอดทางช่องคลอดที่ห้องคลอดโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
อัตราการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บทั้งหมดในแต่ละเดือน
|
x 100 |
จำนวนผู้คลอดทางช่องคลอดทั้งหมดในเดือนเดียวกัน |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
อัตราการติดเชื้อ |
9 |
8 |
7 |
6 |
5 |
9.ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
นางสาว อมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด
นางสาว อมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
กลุ่มงานCluster :
นายแพทย์ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
|