1. ประเด็น |
การคัดกรองและค้นหาภาวะพร่องไอโอดีน ธัยรอยด์ฮอร์โมน ทารกแรกเกิด 48ชม.-7วัน. |
2. เป้าประสงค์ |
ลดอัตราการเกิดภาวะพร่องไอโอดีน ธัยรอยด์ฮอร์โมน ทารกแรกเกิด |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการคัดกรองภาวะพร่อง ธัยรอยด์ฮอร์โมน ในทารกแรกเกิด |
4. เกณฑ์ |
ทารก 48 ชม.- 7 วันได้รับการคัดกรอง 100 % |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
ทารกแรกเกิดที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ และคลอดในโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ หลังคลอดครบ 48 ชม.-7วัน |
5.2 นิยาม |
ทารกแรกเกิดที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติหลังคลอด 48 ชม.-7 วัน ที่ได้รับการเจาะเลือด หยดกระดาษซับของกรมวิทยาศาสตร์ เพื่อตรวจหาภาวะพร่องไอโอดีน และไทรอยด์ ตาม CPG ไม่นับรวมทารกแรกเกิดที่ Refer ไป รพ.ปัว/รพ.น่าน ก่อนอายุครบ 48 ชม. |
5.3 วิธีรายงาน |
เอกสารบันทึก / โปรแกรมรายงานสปสช . ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
รายงานการคัดกรองทารกแรกเกิด / โปรแกรมรายงานสปสช. |
6. ประชากรเป้าหมาย |
จำนวนทารกเกิดมีชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติครบ 48 ชม-7วัน. ที่ห้องคลอดโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนทารกเกิดมีชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติที่ได้รับการคัดกรองภาวะพร่อง ธัยรอยด์ฮอร์โมน ที่ห้องคลอดโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
|
x 100 |
จำนวนทารกเกิดมีชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติทั้งหมดที่ห้องคลอดโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
อัตราการคัดกรอง |
>90 |
>92 |
>94 |
>96 |
>98 |
9.ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
นางสาวอมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด
นางสาวอมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
กลุ่มงานCluster :
นายแพทย์ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
|