รายละเอียดตัวชี้วัดหน่วยงาน
กลุ่มการพยาบาล ห้องคลอด โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ  จังหวัดน่าน

 
               
  กลับหน้าหลัก            
               
 

1. ประเด็น

การตายปริกำเนิด  Perinatal Mortality rate

2. เป้าประสงค์

ลดอัตราตายปริกำเนิด  Perinatal Mortality rate ไม่เกิน  9 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ

3. ชื่อตัวชี้วัด

อัตราตายปริกำเนิด  Perinatal Mortality rate

4. เกณฑ์

ไม่เกิน  9 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ

5. ผลงาน

 

    5.1  รายการข้อมูล

จำนวนทารกที่เกิดไร้ชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ  และคลอดในโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ

     5.2   นิยาม

จำนวนทารกที่เกิดไร้ชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ และคลอดในโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ   (ทารกที่ตายนับตั้งแต่อยู่ในครรภ์ครบ 22 สัปดาห์เต็ม หากไม่ทราบอายุครรภ์ให้ใช้น้ำหนักของทารกแรกคลอดตั้งแต่ 1,000กรัม หรือ ความยาวจากศีรษะ ถึงส้นเท้า 36 ซม. หรือมากกว่า) รวมกับการตายทารกอายุต่ำกว่า 7 วันหลังคลอด

    5.3  วิธีรายงาน

บันทึกในแบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอดทุกเดือน

    5.4  แหล่งข้อมูล

ICD 10 / แบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอด

6. ประชากรเป้าหมาย

จำนวนทารกที่เกิดไร้ชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ และคลอดในโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ

7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ)

=

จำนวนทารกที่เกิดไร้ชีพที่คลอดจากมารดาในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ  +   จำนวนการตายของทารกที่มีอายุต่ำกว่า 7 วันในช่วงเวลาที่กำหนด

x  1,000

จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพทั้งหมดในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ

8.เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน

1

2

3

4

5

 

อัตราทารกน้ำหนักตัวน้อย

29

24

19

14

9

9.ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
นางสาวอมรลักษณ์    อุ่นเรือน


ตำแหน่ง :  พยาบาลวิชาชีพ

10. ชื่อ – สกุล :   ผู้ดูแลตัวชี้วัด 
นางสาวอมรลักษณ์    อุ่นเรือน


ตำแหน่ง :  พยาบาลวิชาชีพ

11. กลุ่มงานCluster :   
นายแพทย์ฬุจิศักดิ์   วรเดชวิทยา


ตำแหน่ง :  ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ

 
               
  กลับหน้าหลัก          
               
:: Copyright ©2010 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน เบอร์โทรศัพท์ 054-693548 โทรสาร 054-693549 ::