1. ประเด็น |
การตายของมารดา Maternal Mortality Ratio / MMR |
2. เป้าประสงค์ |
ลดอัตราส่วนการตายของมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน Maternal Mortality Ratio / MMR |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราส่วนการตายของมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน Maternal Mortality Ratio / MMR |
4. เกณฑ์ |
ไม่เกิน 18 ต่อแสนการเกิดมีชีพ |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ |
5.2 นิยาม |
การเสียชีวิตของหญิงขณะตั้งครรภ์หรือภายใน 6 สัปดาห์ ( 42 วัน ) หลังสิ้นสุดการคลอดที่ได้รับบริการฝากครรภ์
(ANC)ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ ไม่ว่าอายุครรภ์จะเป็นเท่าใดหรือการตั้งครรภ์ที่ตำแหน่งใดเนื่องจากสาเหตุ
ที่เกี่ยวข้องหรือการดูแลรักษาขณะตั้งครรภ์และคลอดต่อทารกเกิดมีชีพ 100,000 คน |
5.3 วิธีรายงาน |
บันทึกในแบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอดทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ICD 10 / แบบบันทึกข้อมูลการรับบริการการคลอด |
6. ประชากรเป้าหมาย |
จำนวนมารดาที่ได้รับบริการฝากครรภ์ (ANC)/รับบริการคลอด/ตรวจหลังคลอดในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนหญิงเสียชีวิตขณะตั้งครรภ์หรือภายใน 6 สัปดาห์หลังสิ้นสุดการตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ
|
x 100,000 |
จำนวนทารกเกิดมีชีพที่คลอดจากหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ในเขตอำเภอเฉลิมพระเกียรติ |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
อัตราการตายของมารดา |
22 |
20 |
18 |
16 |
14 |
9.ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
นางสาวอมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด
นางสาวอมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
กลุ่มงานCluster :
นายแพทย์ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
|