1. ประเด็น |
ประสิทธิภาพการจัดทำรายงานทางการเงิน |
2. เป้าประสงค์ |
มีการจัดทำรายงานสถานะทางการเงิน ต่อผู้บริหาร ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
ร้อยละของการทำรายงานทางการเงิน เสนอผู้บริหาร ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา |
4. เกณฑ์ |
ตามคู่มือการปฏิบัติงาน คือ
- จัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
- ลงทะเบียนคุมเงินฝากธนาคาร ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
- จัดทำรายงานฐานะเงินสด ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
- จัดทำรายงานงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา
|
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
สรุปยอดรายงานทางการเงินประจำวัน ประจำเดือน |
5.2 นิยาม |
1. รายงานเงินคงเหลือประจำวัน รายงานฐานะเงินสด และทะเบียนคุมเงินฝากธนาคาร ต้องทำทุกวัน ยกเว้นวันหยุดราชการ
2. รายงานงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร เป็นการตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคารกับบัญชีคุมเงินฝากธนาคารประจำเดือนว่า มียอดตรงกันหรือไม่ ต้องทำภายใน 10 วันทำการนับจากได้รับหนังสือแจ้งจากธนาคารทุกเดือน |
5.3 วิธีรายงาน |
- ทุกวัน สำหรับ รายงานที่ต้องทำเป็นปัจจุบัน
- ทุกเดือนสำหรับงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
|
5.4 แหล่งข้อมูล |
แฟ้มเอกสารรายงานทางการเงิน |
6. ประชากรเป้าหมาย |
กรรมการเก็บรักษาเงิน หัวหน้าฝ่ายบริหาร ผู้อำนวยการ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนครั้งที่ทำรายงานถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาต่อปี
|
x 100 |
จำนวนครั้งที่ทำรายงาน เสนอผู้บริหารต่อปี |
|
8.เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ร้อยละผลงาน |
80 |
85 |
90 |
95 |
100 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฏิบัติ)
9.1 นางสาวรัชฏาภรณ์ กลิ่นจันทร์
9.2 นางสาวภัทรา สิทธิวัง
9.3 นางสาวนิธิวดี ศรีใจอินทร์ |
ตำแหน่ง : นักวิชาการเงินและบัญชี
ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่จัดเก็บข้อมูล
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด |
ตำแหน่ง : |
11. กลุ่มงาน Cluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการ |