1. ประเด็น |
พัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล |
2. เป้าประสงค์ |
เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลนำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลได้อย่างมีคุณภาพ |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราความสมบูรณ์ของบันทึกทางการพยาบาลมีความครอบคลุม ครบถ้วน ถูกต้อง |
4. เกณฑ์ |
มากกว่าร้อยละ 70 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนหน่วยงานที่ chart ผู้ป่วยใน ได้บันทึกทางการพยาบาล คือ WARD และ LR |
5.2 นิยาม |
การบันทึกทางการพยาบาลเป็นข้อความที่แสดงถึงการพยาบาลทั้งหมดที่บันทึกไว้เพื่อเป็นหลักฐานในการดูแลผู้รับบริการบันทึกทางการพยาบาล มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมและถูกต้องตามหลักการประเมินบันทึกทางการพยาบาลของกลุ่มการพยาบาล ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ
- การประเมินสภาพ
- การวินิจฉัยการพยาบาล
- การวางแผนการพยาบาล
- การปฏิบัติการพยาบาล
- การประเมินผลลัพธ์ของการพยาบาล
|
5.3 วิธีรายงาน |
ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือนมีนาคม 2553 ครั้งที่ 2 เดือนสิงหาคม 2553 |
5.4 แหล่งข้อมูล |
จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของหน่วยงานในความรับผิดชอบกลุ่มการพยาบาล |
6. ประชากรเป้าหมาย |
จำนวน chart ผู้ป่วยใน ที่ถูกส่ง Audit chart ด้านการบันทึกทางการพยาบาล |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวน chart ผู้ป่วยที่ถูกสุ่ม มีความสมบูรณ์ของการบันทึกทางการพยาบาล
|
X 100 |
จำนวน chart ผู้ป่วยที่ถูกสุ่ม การบันทึกทางการพยาบาลทั้งหมด |
|
8.เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ร้อยละผลงาน |
50 - 54 |
55 - 59 |
60 - 64 |
65 - 69 |
³ 70 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
9.1 นางรัชฎาลักษณ์ อินต๊ะนัย
9.2 นางสาวอมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด นางสาวรดาณัฐ ซอเสียง |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
กลุ่มงานCluster : นายฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |