1. ประเด็น |
พัฒนาศักยภาพบุคลากรและส่งเสริมให้ทำงานอย่างมีความสุข |
2. เป้าประสงค์ |
บุคลากรได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะหลัก |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราของบุคลากรฝ่ายการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ |
4. เกณฑ์ |
ร้อยละ 80 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนบุคลากรฝ่ายการพยาบาลได้รับการประเมินสมรรถนะหลัก 6 ด้าน |
5.2 นิยาม |
การประเมินสมรรถนะหลัก เป็นการวัดความสำเร็จของการเพิ่มพูนศักยภาพของบุคลากร ซึ่งเป็นการเตรียมพร้อมให้บุคลากรสามารถปฏิบัติราชการได้อย่างสมฤทธิ์ผล โดยกำหนด สมรรถนะหลัก 6 ด้าน ได้แก่ 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.การบริการที่ดี 3.การสั่งสมความเชี่ยวชาญ 4.จริยธรรม 5.ความร่วมแรงร่วมใจ 6.ความถูกต้องของงาน |
5.3 วิธีรายงาน |
รายงานทุก 6 เดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ผลการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะรายบุคคล |
6. ประชากรเป้าหมาย |
จำนวนบุคลากรฝ่ายการพยาบาลที่ผ่านการประเมินสมรรถนะหลัก 6 ด้าน |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนบุคลากรฝ่ายการพยาบาลที่ผ่านการประเมินสมรรถนะหลัก 6 ด้าน
|
x 100 |
จำนวนบุคลากรฝ่ายการพยาบาลทั้งหมดที่ได้รับการประเมิน |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ร้อยละผลงาน |
>50 |
>60 |
>70 |
>80 |
100 |
9.ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
9.1 นางสาวประทุมพร มณีจร
9.2 นางสาวอมรลักษณ์ อุ่นเรือน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด นางสาววาสนา ยศอาลัย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
กลุ่มงานCluster : นายฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |