1. ประเด็น |
มาตรฐานที่1.การพยาบาลในระยะก่อนการตรวจรักษา ด้านคุณภาพการให้บริการการพยาบาล |
2. เป้าประสงค์ |
เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับความปลอดภัย |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
ร้อยละของผู้ใช้บริการได้รับการส่งตรวจถูกห้องตรวจตามประเภท/ความรุนแรงของอาการ |
4. เกณฑ์ |
100% |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกได้รับการส่งตรวจถูกห้องตรวจอย่างถูกต้องตามประเภทความรุนแรงของอาการ |
5.2 นิยาม |
ผู้ใช้บริการได้รับการส่งตรวจถูกห้องตรวจตามประเภท/ความรุนแรงของอาการ หมายถึง ผู้ใช้บริการได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ แยกประเภทความเจ็บป่วยและความรุนแรงของโรคทันทีที่มาถึงหน่วยงานผู้ป่วยนอก โดยประเมินอาการเบื้องต้น จากอาการสำคัญ อาการแสดงที่ได้จากเวชระเบียน การซัก ประวัติ การสัมภาษณ์ผู้ใช้บริการครอบครัวผู้ดูแล จากข้อมูลภาวะสุขภาพดังนี้
1.อาการสำคัญที่มารพ.
2.ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
3.ประวัติการใช้ยา/แพ้ยา
4.การวัดสัญญาณชีพ
5.การตรวจร่างกายเบื้องต้นที่สัมพันธ์กับอาการสำคัญ
6. ผลการตรวจต่างๆ มีการประเมินจำแนกความรุนแรง ให้การช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้นที่เหมาะสมตามแนวทาง
ปฏิบัติของหน่วยงาน มีการบันทึกข้อมูล และรายงานผลของข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการดูแลสุขภาพผู้ใช้บริการ |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ข้อมูลการรายงานอุบัติการณ์ตามระบบบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลที่พิสูจน์ได้ว่าเกิดจากการให้บริการของแผนก
ผู้ป่วยนอกที่ส่งตรวจไม่ถูกต้อง |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ผู้มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนผู้ใช้ที่ได้รับการส่งตรวจถูกห้องตรวจ ตามประเภทความรุนแรงของอาการ
|
x 100 |
จำนวนผู้มาใช้บริการทั้งหมด |
|
8.เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ร้อยละ |
75-79 |
80-84 |
85-89 |
90-94 |
95-100 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
นางสาวภัทรพรรณ รามศิริ
นางสาวประทุมพร มณีจร |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด นางสาวภัทรพรรณ รามศิริ |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ |
กลุ่มงาน Cluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |