1. ประเด็นยุทธศาสตร์องค์กร |
พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐานสุขภาพ |
2. เป้าประสงค์ |
มีการจัดการระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
ความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอกระดับ c-d |
4. เกณฑ์ |
ไม่เกิน 0.5 ต่อพันใบสั่งยา |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
ความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอกระดับ c-d |
5.2 นิยาม |
ความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอกระดับ c-d หมายถึงเหตุการณ์ใดๆที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุหรือนำไปสู่การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วยในขณะที่ยาอยู่ในความควบคุมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้ป่วย หรือผู้รับบริการเหตุการณ์เหล่านั้นอาจเกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติทางวิชาชีพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ กระบวนการและ ระบบ ซึ่งรวมถึงการสั่งใช้ยา การสื่อสารคำสั่งใช้ยา การติดฉลากยา การบรรจุยา การตั้งชื่อยา การเตรียมยา การส่งมอบยา การกระจายการให้ยา การติดตาม การใช้ยาทีเกิดกับผู้ป่วยนอก
ความคลาดเคลื่อนทางยา ระดับ C คือ ความคลาดเคลื่อนนั้นเกิดขึ้น ไปถึงผู้ป่วยแล้วแต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย
ความคลาดเคลื่อนทางยา ระดับ D คือ ความคลาดเคลื่อนนั้นเกิดขึ้น ไปถึงผู้ป่วยแล้วแต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยแต่ยังจำเป็นต้องมีการติดตามผู้ป่วยเพิ่มเติม |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุกครั้งเมื่อเกิดอุบัติการณ์ |
5.4 แหล่งข้อมูล |
แบบรายงานความคลาดเคลื่อนทางยา |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอกระดับ c-d ใน 1 เดือน x 1000
|
|
จำนวนใบสั่งยาทั้งหมดใน 1 เดือน |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
อัตรา |
0.76 - 1.00 |
0.51 – 0.75 |
0.26 - 0.50 |
0.01 - 0.25 |
0 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ
1. นางสาววาสนา ยศอาลัย
2. นางสาวประทุมพร มณีจร
3. นายอัครพนธ์ อินไชย |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ
ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานเภสัชกรรม |
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด นางสุวภัทร กล่อมสกุล |
ตำแหน่ง : นายแพทย์ปฏิบัติการ |
11. กลุ่มงานCluster : นายฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |