ชื่อตัวชี้วัด |
ร้อยละการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น |
หน่วยวัด / เกณฑ์ |
ร้อยละ 5 ของปี 2551 |
วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด |
ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขและได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ที่จำเป็นได้อย่างเสมอภาค |
นิยาม / คำอธิบาย |
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าถึงบริการ หมายถึง มีการดำเนินการตามข้อ 1 หรือ 2 คือ
1.การใช้แบบคัดกรองซึมเศร้า หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองจากบุคลากรที่ผ่านการอบรมการใช้แบบ คัดกรองซึมเศร้าของกรมสุขภาพจิตแล้วพบว่าน่าเชื่อว่าเป็นโรคซึมเศร้าและได้ดำเนินการจนถูกบันทึกว่าเป็น
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าของสถานบริการ
2.การวินิจฉัยผู้ป่วยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ หมายถึง ผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาพยาบาลในสถานบริการ สาธารณสุขแล้วแพทย์มีการวินิจฉัยพบว่าป่วยด้วยโรคซึมเศร้า ตามรหัสโรค ICD-10 โรคใดโรคหนึ่ง เช่น F32,F33,F34,F38,F39 เป็นต้น |
การประมวลผลตัวชี้วัด
(สูตรคำนวณ) |
(จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่เข้าถึงบริการรายจังหวัดในปี 2552 ) – จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฯปี2551
X 100
จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฯปี2551ทั้งหมด |
เกณฑ์ในการให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
ร้อยละผลงาน |
|
|
|
|
|
แหล่งข้อมูล |
จากรายงานผู้ป่วยของสถานบริการสาธารณสุข |
วิธีจัดเก็บข้อมูล |
รายงานตามแบบรายงานผป.ซึมเศร้าของ สสจ.น่าน/รายงานผลงานครอบคลุม ณ ปัจจุบัน |
ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูล |
เป็นข้อมูลพื้นฐานรายงานครั้งเดียว |
ผู้ดูแลกำกับตัวชี้วัด |
นายสิทธิชัย จักรอะโน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ |
ผู้จัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด |
นายสิทธิชัย จักรอะโน |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ |
กลุ่มงาน Closter |
นายฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : นายแพทย์ปฏิบัติการ |