1. ประเด็น |
พัฒนาระบบบริการพยาบาลห้องผ่าตัดให้ได้มาตรฐาน |
2. เป้าประสงค์ |
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการที่ปลอดภัย ไม่เกิดอุบัติการณ์ความเสี่ยงของการมีสิ่งของหรืออุปกรณ์ตกค้างในผู้ป่วย |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อุบัติการณ์การเกิดสิ่งตกค้างในแผลผ่าตัด (KPI4) |
4. เกณฑ์ |
0 ครั้ง |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนครั้งของการผ่าตัดทั้งหมด |
- นิยาม
|
อุบัติการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว นอกเหนือความคาดหมายจากปกติ ก่อให้เกิดความสูญเสีย
สิ่งตกค้าง หมายถึง สิ่งแปลกปลอม ที่มิใช่อวัยวะ ชิ้นส่วนของร่างกาย เช่น เครื่องมือ อุปกรณ์ผ่าตัด ผ้าซับเลือด ก๊อส สำลี รวมถึงชิ้นส่วนหรืออวัยวะร่างกายที่ทำการผ่าตัดทิ้ง/ออกแล้ว
จำนวนครั้งของการผ่าตัดทั้งหมด หมายถึง จำนวนครั้งที่มีผู้มารับบริการห้องผ่าตัดและแพทย์ได้ทำการรักษาโดยการผ่าตัด |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
1. เวชระเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
2. สมุดบันทึกผู้มารับบริการห้องผ่าตัด |
6. ประชากรเป้าหมาย |
|
6.1 รายการข้อมูล |
จำนวนครั้งของการเกิดสิ่งตกค้างในแผลผ่าตัด |
6.2 วิธีรายงาน |
ทุกเดือน |
6.3 แหล่งข้อมูล |
1. เวชระเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
2. แบบบันทึกการผ่าตัดของแพทย์
3. แบบบันทึกการตรวจเยี่ยมผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด จากบันทึกจำนวนอุปกรณ์ก่อนผ่าตัด
และหลังผ่าตัด
4. รายงานความเสี่ยงของทีม RM |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนครั้งของการเกิดสิ่งตกค้างในแผลผ่าตัด
|
x .......(1000) |
จำนวนครั้งของการผ่าตัดทั้งหมด |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ร้อยละผลงาน |
4 |
3 |
2 |
1 |
0 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ นส.รดาณัฐ ซอเสียง |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ ปฎิบัติการ |
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด นส.รดาณัฐ ซอเสียง |
ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพ ปฎิบัติการ |
11.กลุ่มงานCluster : นายแพทย์ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : นายแพทย์ ปฎิบัติการ |