1. ประเด็น |
คุณภาพของการให้บริการ |
2. เป้าประสงค์ |
ความถูกต้อง,ครบถ้วนของการให้บริการ |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการรายงานผลการตรวจผิดพลาด |
4. เกณฑ์ |
น้อยกว่าร้อยละ 0.5 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
ข้อมูลการรายงานอุบัติการณ์หรือข้อร้องเรียนในเรื่องการรายงานผลการตรวจไม่ถูกต้องไม่ครบถ้วนตามระบบบริหาร
ความเสี่ยงของโรงพยาบาล ในแต่ละเดือน |
5.2 นิยาม |
การรายงานผลการตรวจผิดพลาด หมายถึง การรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการไม่ตรงตามคำสั่งตรวจของแพทย์/พยาบาล, รายงานผลไม่ครบถ้วนตามรายการสั่งตรวจหรือรายงานผลการตรวจผิดคน |
5.3 วิธีรายงาน |
รายงานตามระบบบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาล |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ข้อมูลการรายงานอุบัติการณ์ตามระบบบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลที่พิสูจน์ได้ว่าเกิดจากการให้บริการของห้องปฏิบัติการ
ไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ประชากรที่มาใช้บริการตรวจทางห้องปฏิบัติการ |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
จำนวนครั้งของการรายงานผลการตรวจผิดพลาด
จำนวนรายการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทั้งหมด
|
× 100 |
|
8.เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ร้อยละผลงาน |
> 1.0 |
0.75 |
0.5 |
0.25 |
0 |
9 ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
9.1 น.ส.ศิรินทิพย์ ยาใจ
9.2 น.ส.พนา ปงผาบ |
ตำแหน่ง : นักเทคนิคการแพทย์
ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด น.ส.ศิรินทิพย์ ยาใจ |
ตำแหน่ง : นักเทคนิคการแพทย์ |
กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |