1. ประเด็น |
การบริการโลหิตที่ดี |
2. เป้าประสงค์ |
ความปลอดภัยในการบริการโลหิต |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการเกิดอุบัติการณ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการให้เลือด |
4. เกณฑ์ |
น้อยกว่าร้อยละ 5 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
ข้อมูลการรายงานอุบัติการณ์หรือข้อร้องเรียนในเรื่องการเกิดอุบัติการณ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการให้เลือด |
5.2 นิยาม |
การเกิดอุบัติการณ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการให้เลือด หมายถึง การเกิดอาการแทรกซ้อนหลังจากการให้เลือดแก่ผู้ป่วย อาทิเช่น มีไข้ , ปริมาณการไหลเวียนเลือดมากเกินไป, ปฏิกิริยาภูมิแพ้, ปฏิกิริยาการสลายของเม็ดเลือดแดง, การติดเชื้อ, การมีฟองอากาศในหลอดเลือด ซึ่งเมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้นมีการบันทึกและทำการแก้ไขให้ได้ทันท่วงที |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุก 1 เดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
ข้อมูลบันทึกการรายงานอุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์จากการให้เลือด |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลที่มีการให้เลือด |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
จำนวนผู้ป่วยที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการให้เลือดใน 1 เดือน
จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับเลือดทั้งหมดใน 1 เดือน
|
× 100 |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลงานร้อยละ |
10 |
7.5 |
5 |
0.25 |
0 |
- ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
- น.ส.ศิรินทิพย์ ยาใจ
- น.ส.พนา ปงผาบ
|
ตำแหน่ง : นักเทคนิคการแพทย์
ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด น.ส.พนา ปงผาบ |
ตำแหน่ง : เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |