1. ประเด็น |
คุณภาพของการให้บริการ |
2. เป้าประสงค์ |
เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
อัตราการแพ้สารทึบรังสีซ้ำ |
4. เกณฑ์ |
ร้อยละ 0 |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
จำนวนอุบัติการณ์ของการแพ้สารทึบรังสี |
5.2 นิยาม |
สารทึบรังสี เป็นสารที่ใช้ในการตรวจวินิจฉัยอวัยวะต่างๆภายในร่างกายพร้อมกับการเอกซเรย์เพื่อให้เกิดความแตกต่างของความทึบรังสีและ
สามารถมองเห็นรูปร่างของอวัยวะนั้นๆและยังเห็นสิ่งผิดปกติในแต่ละอวัยวะต่างๆของแต่ละระบบการทำงานในร่างกายของคนเรา
มีทั้งชนิดกินและชนิดฉีด เนื่องจากสารทึบรังสีที่ใช้อาจก่อให้เกิดปฏิกิริยาแพ้ที่รุนแรงได้ ดังนั้นแพทย์จำเป็นต้องสอบถามประวัติการแพ้สารไอโอดีน
เช่นเคยแพ้อาหารทะเลหรือไม่ ทุกครั้งก่อนทำการตรวจด้วยสารดังกล่าว ถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่ผู้ป่วยควรทราบประการหนึ่งและเพื่อป้องกันการแพ้ซ้ำ |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
สมุดบันทึกงานรังสีวินิจฉัย,รายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงของหน่วยงานและโรงพยาบาล |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ผู้ป่วยที่มาใช้บริการทางรังสี |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
= |
จำนวนครั้งของการแพ้สารทึบรังสีซ้ำใน 1 เดือน
|
x 100 |
จำนวนครั้งของการเอกซเรย์ทั้งหมดภายใน 1 เดือน
|
|
8.เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
|
≥ 10 |
7.5 |
5 |
2.5 |
0 |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
9.1 นายเสถียร ทองแดง |
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยเหลือคนไข้
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด
10.1 นายเสถียร ทองแดง |
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยเหลือคนไข้
|
กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |