1. ประเด็น |
คุณภาพของการให้บริการ |
2. เป้าประสงค์ |
เพื่อส่งมอบงานที่มีคุณภาพภายในเวลาที่พอเหมาะ |
3. ชื่อตัวชี้วัด |
ความรวดเร็วในการทำ IVP |
4. เกณฑ์ |
ไม่เกิน 60 นาที |
5. ผลงาน |
|
5.1 รายการข้อมูล |
ระยะเวลาเฉลี่ยรวมของผู้มารับบริการ |
5.2 นิยาม |
ระยะเวลาเฉลี่ยในการรับบริการ หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ผู้มารับบริการยื่นใบขอเอกซเรย์,ผู้มารับบริการ ได้รับการเอกซเรย์จนกระทั่งถึงเวลาที่ผู้มารับบริการได้รับมอบฟิล์มเพื่อนำฟิล์มไปพบแพทย์ผู้สั่ง
การทำ IVP (Intravenous Pyelography) หมายถึง การตรวจการทำงานของไตโดยการฉีดสี (Water Soluble Contrast) เข้าทางเส้นเลือดดำ แล้วสารนี้จะถูกขับออกทางไตเวลาเอกซเรย์จะเห็นเป็นสีขาวในฟิล์ม ซึ่งจะเห็นรูปร่างของไตเป็นอย่างไร นิ่วอุดท่อไตตรงไหน การทำหน้าที่ในการขับถ่ายของไต |
5.3 วิธีรายงาน |
ทุกเดือน |
5.4 แหล่งข้อมูล |
สมุดบันทึกงานรังสีวินิจฉัย |
6. ประชากรเป้าหมาย |
ผู้มารับบริการในการทำ IVP |
7. การประมวลผลตัวชี้วัด (สูตรการคำนวณ) |
|
8. เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนน |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
|
ผลการประเมิน |
≥ 80 นาที |
≤ 75 นาที |
≤ 70 นาที |
≤ 65 นาที |
≤ 60 นาที |
9. ชื่อ – สกุล ผู้รับผิดชอบ (ผู้ปฎิบัติ)
9.1 นายเสถียร ทองแดง |
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยเหลือคนไข้
|
10. ชื่อ – สกุล : ผู้ดูแลตัวชี้วัด
10.1 นายเสถียร ทองแดง |
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยเหลือคนไข้
|
กลุ่มงานCluster : นพ.ฬุจิศักดิ์ วรเดชวิทยา |
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ |